(คำถามหลัก) Big
Question : น้ำสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตอย่างไรบ้าง?
ภูมิหลังของปัญหา
: น้ำเป็นสิ่งใกล้ตัวและเป็นปัจจัยหลักในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นคน พืช
สัตว์ โดยเฉพาะคน ที่ต้องใช้น้ำในการอุปโภค บริโภคทุกวัน
แต่หลายคนมักมองข้ามความสำคัญ ใช้น้ำอย่างไม่รู้คุณค่า หรือแม้กระทั่งภัยที่เกิดจากน้ำ เช่น
สารเคมีปนเปื้อนในน้ำดื่ม-ใช้
น้ำท่วม
แหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคหรือแม้กระทั่งสภาวะขาดแคลนน้ำ อื่นๆ
ดังนั้น เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญ เห็นคุณค่าของน้ำ
ตลอดจนการรู้จักใช้น้ำอย่างคุ้มค่าและตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
คุณครูจึงได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
บูรณาการ PBL ให้กับนักเรียนชั้นอนุบาล 1
Understanding Goal (เป้าหมายของความเข้าใจ) : นักเรียนเห็นความสำคัญของน้ำต่อตนเองและสิ่งมีชีวิตสามารถใช้น้ำให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่ามากที่สุด
ตลอดจนแนะนำการใช้น้ำอย่างประหยัดให้กลับบุคคลใกล้ตัวและบุคคลอื่นๆ
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (ProblemBasedLearning)
หน่วย : “ สานน้ำแห่งชีวิต ” ระดับชั้นอนุบาล 1 ประจำ Quarter 4
ปีการศึกษา 2/2559
week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
9 – 13
ม.ค.
60
|
โจทย์ :
- สร้างแรง
- เลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
น้ำกับกิจวัตรประจำวัน
Key Question :
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไรมากที่สุดเพราะอะไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ครูและนักเรียนร่วมสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สิ่งที่อยากเรียนรู้
Wall Thinking
:
นักเรียน
วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง
”แมลงปอปีกใส”
|
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจแหล่งน้ำรอบๆ บริเวณโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกม “
ส่งน้ำ” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมที่ได้เล่นว่ารู้สึกอย่างไร เมื่อเล่นเสร็จแล้วสถานที่เป็นอย่างไร นักเรียนจะทำอย่างไร?
- ครูทบทวนวิถีพร้อมสร้างข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “
สัตว์โลกใต้น้ำ” เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมพิมพ์ภาพมือจากสีน้ำ(สีโปสเตอร์)
สร้างของตกลงก่อนทำกิจกรรม
นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมพิมพ์ภาพมือจากสีน้ำ(สีโปสเตอร์)
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“แมลงปอปีกใส” เพื่อสร้างแรงบัลดาลใจให้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำ
และน้ำเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
นักเรียนต่อเติมภาพพิมพ์มือสร้างสรรค์จากสีน้ำเป็นรูปสัตว์น้ำ
- ครูและนักเรียนร้องเพลง
“เสียงฝน” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องของน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้น้ำในชีวิตประจำวัน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “
หยดน้ำผจญภัย”เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องน้ำมากขึ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทาน
- นักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้มากที่สุด
- นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
โดยใช้เครื่องมือ Card &
Chart จากนั้นครูจัดกลุ่มสิ่งที่นักเรียนอยากเรียนรู้ใน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือ Blackboard share
|
ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้น้ำในชีวิตประจำวัน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter4
- นักเรียน
วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- พิมพ์ภาพมือจากสีน้ำ(สีโปสเตอร์)
-
ต่อเติมภาพพิมพ์มือเป็นรูปสัตว์น้ำ
|
ความรู้ : นักเรียนเกิดความใคร่รู้เรื่องน้ำ สามารถอธิบายลักษณะหรือความสำคัญของน้ำ และเลือกสิ่งที่อยากรู้พร้อมให้เหตุผลได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
2
16 – 20
ม.ค. 60
|
โจทย์ :
-
วางแผน
-
สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ทะเลอนุบาล
-
ผักไร้ดิน อร่อยจัง
Key Question
:
นักเรียนคิดว่าพืชชนิดใดสามารถปลูกได้โดยไม่ต้องใช้ดิน
เครื่องมือคิด
Brainstorms
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปลูกพืช
เพื่อเชื่อมโยงสู่การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน /
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ / ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหารจากถั่วงอก
Blackboard
Share
บอกสิ่งที่รู้แล้ว
/ สิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and
Learn
นักเรียนทุกคนระบายสีชื่อหน่วยจากสีน้ำ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง “กากับเหยือกน้ำ”
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ ลูกเป็ดอาบน้ำ” เพื่อเชื่อมโยงสู่เรื่อง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำและการใช้น้ำในชีวิตประจำวัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันปลูกพืชโดยใช้น้ำ ได้แก่ ถั่วงอก ผักบุ้ง หอมหัวใหญ่
-
นักเรียนเล่นมุมน้ำ(ช่วงบ่าย)
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเติบโตของพืชที่ปลูก
นักเรียนวาดภาพบักทึกการเจริญเติบโตของพืช
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“กระรอกซุ่มซ่ามกับแอปเปิ้ลยักษ์”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวนิทานที่ได้ฟัง
นักเรียนทุกคนร่วมกันระบายสีชื่อหน่วยจากสีน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “อาบน้ำ” เพื่อเชื่อมโยงสู่สิ่งที่รู้แล้ว
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้ว
-
ครูเล่านิทานเรื่อง “กากับเหยือกน้ำ” เพื่อเชื่อมโยงสู่สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
-ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหารจาก
-
การบ้านเตรียมอุปกรณ์ในการทำอาหารเมนู “ส้มตำถั่วงอก”
- ครูและนักเรียนทบทวนเมนูอาหารและวัตถุดิบที่จะทำ
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงและนิทานที่ได้ฟัง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปลูกพืช
เพื่อเชื่อมโยงสู่การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหารจากถั่วงอก
ชิ้นงาน
-
นักเรียนทุกคนระบายสีชื่อหน่วยจากสีน้ำ
-
ประดิษฐ์ตุ๊กตาหยดน้ำหรรษา
|
ความรู้ : นักเรียนสามารถบอกสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้
พร้อมออกแบบการเรียนรู้ร่วมกับครูได้
ทักษะ :
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสมสรุปผล
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ เช่น ดินสอ สี กระดาษ
ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
3
23 – 27
ม.ค. 60
|
โจทย์ :
- ฝนตกง่ายๆ
Key Question :
นักเรียนคิดว่าน้ำมาจากไหน?
Brainstorms :
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำมาจากไหนบ้าง?
Show and Learn :
จิ๊กซอว์จักรของน้ำ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศในบริเวณโรงเรียน
- เพลง “เสียงฝน”
|
- ครูและนักเรียนเดินสังเกตก้อนเมฆบนท้องฟ้า
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ ซ่า ซ่า ซ่า ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองวัฏจักรของน้ำ
และสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง
- นักเรียนวาดภาพผลการทดลอง
“วัฏจักรของน้ำ” ลงสมุด
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทดลองวัฏจักรของน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในฤดูฝน
- ครูและนักเรียนร่วมกันประดิษฐ์จิ๊กซอว์วัฏจักรของน้ำ
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ รุ้งกินน้ำ ”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การเกิดปรากฏการณ์รุ้งกินน้ำ
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ รุ้งกินน้ำ ฟ้าแลบ
ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองรุ้งกินน้ำ
-
นักเรียนประดิษฐ์โมบายสายรุ้ง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นและสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่
2
- นักเรียน Show and Learn จิ๊กซอว์วัฏจักรของน้ำ
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำ การเกิดฝน มาจากที่ใดบ้าง
- ครูและนักร่วมแสงแสดงความคิดเห็นเกี่ยววัฏจักรของน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองการเกิดไอน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ
รุ้งกินน้ำ ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง
ฟ้าผ่า
- ประกอบอาหาร “ไข่ดาวก้อนเมฆ”
-ชิ้นงาน
- ใบงานเขียนวัฏจักรของน้ำ
- ประดิษฐ์จิ๊กซอว์วัฏจักรของน้ำ
- ประดิษฐ์โมบายสายรุ้ง
|
ความรู้
: นักเรียนเข้าใจและสามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับการเกิดฝน
และรุ่งกินน้ำตลอดจนการดูแลรักษาตนเองในฤดูต่างๆ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
4
30 ม.ค. –
3
ก.พ. 60
|
โจทย์ :
- ไอศกรีมอร่อยจัง
Key Questions :
ของเหลวกลายเป็นของแข็งได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
ครูและนักเรียนสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับสถานะของน้ำ
Show and Learn
เขียน web สรุปการประกอบเครื่องดื่มน้ำผลไม้ปั่น
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- สื่อของจริง (มะนาว ส้ม
แครอท มะเขือเทศ
นมเปรี้ยว
น้ำแข็ง)
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ไอศกรีมอร่อยจัง”
เชื่อมโยงเข้าสู่การเปลี่ยนสถานะ
ของแข็งของเหลว
- ครูและนักเรียนสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำไอศกรีม จาก 2 วิธี แช่ในตู้เย็น และ เขย่า
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำไอศกรีม
- นักเรียนวาดรูปขั้นตอนการทำไอศกรีมหวานเย็น
- การบ้านเตรียมวัตถุดิบในการทำน้ำผลไม้ปั่น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวัตถุดิบในการทำน้ำปั่นผัก/ผลไม้
- นักเรียนจำแนกประเภทของผักกับผลไม้
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำเครื่องดื่ม น้ำผัก/ผลไม้ปั้น
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำไอศกรีม
-
ครูและนักเรียนร่วมกันประกอบเครื่องดื่ม น้ำผลไม้ปั้น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดและสรุปผลการประกอบเครื่องดื่มน้ำผลไม้ปั่น
- นักเรียนเลือกทำไอศกรีม หรือ น้ำผลไม้ปั่น
เพื่อทำแบ่งปันผู้อื่น
ชิ้นงาน
-
เขียน web สรุปการทำไอศกรีม
-
นักเรียนวาดรูปขั้นตอนการทำไอศกรีมหวานเย็น
|
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะคุณสมบัติภายนอกของน้ำ
เช่น ของแข็ง ของเหลว และการเปลี่ยนสถานะได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
5
6-10 ก.พ.60
|
โจทย์ :
ขนมหมาน้อย
Key Questions
นักเรียนคิดว่าน้ำจากของแข็งกลายเป็น
ของเหลวได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณสมบัติของน้ำ
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง
“น้ำแข็งใส”
- เพลง “ฝนตก, ซ่า ซ่า ซ่า”
- อุปกรณ์ในการทดลองการละลาย
( เกลือ น้ำตาล น้ำแข็ง กะทะไฟฟ้า)
- ภาชนะใส่น้ำ เช่น แก้ว ถ้วย ขวดจาน ฯลฯ
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “ฝนตก”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องน้ำแข็ง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับสารที่สามารถละลายได้
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองสังเกตการละลายของสารในสถานที่แตกต่างกันโดยวิธีการทิ้งไว้เฉยๆ ตากแดด ต้ม และสรุปผลการทดลอง
- นักเรียนบันทึกสรุปผลการทดลองลงสมุดเป็นภาพ
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“แพนเค้กของบุ๋มบิ๋ม” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การทำขนม
- นักเรียนเขียน Web ส่วนผสมของขนมแพนเค้ก
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำขนมแพนเค้ก
- ครูและนักเรียนร่วมกันประกอบอาหาร
“ขนมแพนเค้ก” และรับประทานร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“ฉันคือเมฆ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับขนมที่นักเรียนรู้จัก
พร้อมเชื่อมโยงถึงการทำขนมวุ้นหมาน้อย
- การบ้านนักเรียนเตรียมวัตถุดิบในการทำขนมวุ้นหมาน้อยผลไม้รวม
- ครูและนักเรียนร่วมทำขนมหมาน้อยผลไม้รวม
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองสังเกตการละลายของน้ำแข็งในสถานที่ที่แตกต่างกันโดยวิธีธรรมชาติและสรุปผลการทดลอง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองการละลายของสารโดยการใช้ความร้อนเป็นตัวทำละลาย ได้แก่
เกลือ น้ำตาล และน้ำแข็ง
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับการทำเขนมแพนค้ก
ชิ้นงาน
- นักเรียนร่วมกันทำขนมแพนเค้ก
- นักเรียนเขียน web วัตถุดิบในการทำขนมแพนเค้ก
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะคุณสมบัติภายนอกของน้ำ
และการเปลี่ยนสถานะได้ เช่น ของแข็งเป็นของเหลวได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
6
13-17
ก.พ. 60
|
โจทย์ :
- สร้างเขื่อนทรายกักเก็บน้ำ
Key Question :
น้ำที่อยู่ในภาชนะที่ต่างกัน
มีรูปร่างลักษณะ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำ
Show and Learn :
นักเรียน Show and Learn เขียน
web วัตถุดิบในการทำวุ้นผลไม้รวมนมสด
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “เสือน้อยไม่อยากอาบน้ำ, น้ำคือชีวิต”
- อุปกรณ์ในการประกอบอาหาร
- เครื่องมือตวง
|
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ รุ้งกินน้ำ ”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับที่กักเก็บน้ำ
- ครูและนักเรียนร่วมกันขุดเขื่อนทราย
- ครูเล่านำทานเรื่อง “ร้านขนมหวานคุณยาย” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การเปลี่ยนรูปของน้ำ
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิด “ในนิทานมีขนมอะไรบ้าง, นักเรียนรู้จักขนมอะไรบ้าง, นักเรียนอยากกินขนมอะไรมากที่สุด”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขนมวุ้นผลไม้รวม
และวัตถุดิบในการทำขนมวุ้นผลไม้รวม
- นักเรียนเขียน web วัตถุดิบการทำวุ้นผลไม้รวม
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำขนมวุ้นผลไม้รวม
- ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกม
“ส่งน้ำข้ามภูเขา” เพื่อเชื่อโยงเข้าสู่ การใช้อุปกรณ์ในการตัก ตวง วัด น้ำ
- ครูและนักเรียนร่มกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเกมส่งน้ำข้ามภูเขา
- นักเรียนร่วมกันดูแลที่ใช้ในการเล่นเกม
และปรนนิบัติสถานที่
- นักเรียน Show and Learn เขียน
web วัตถุดิบในการทำวุ้นผลไม้รวมนมสด
|
ภาระงาน
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสร้างเขื่อนจากทราย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับน้ำที่อยู่ในภาชนะที่ต่างกัน
มีรูปร่างลักษณะ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
-
ครูและนักเรียนร่วมกันขุดบ่อน้ำรูปแบบต่างๆ
เติมน้ำใส่บ่อโดยการตวงปริมาณน้ำที่เติมลงไป
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลการทดลองจากการสังเกตน้ำที่อยู่ในภาชนะที่ต่างกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันเล่นเกม
“ส่งน้ำข้ามภูเขา”
ชิ้นงาน
- วาดภาพการทดลองน้ำที่อยู่ในภาชนะที่ต่างๆ
- เขียน web วัตถุดิบในการทำวุ้นผลไม้รวมนมสด
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายการเปลี่ยนรูปร่างของน้ำตามภาชนะที่ใส่ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
7
20-24 ก.พ. 60
|
โจทย์ :
มาซักผ้ากันเถอะ
Key Questions
นักเรียนคิดว่าน้ำมีความสำคัญและมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่มีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกับน้ำ
Show and Learn :
ใบงานวาดภาพการทดลอง
“ฟองสบู่ยักษ์”
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “อาบน้ำสนุกจัง, น้ำคือชีวิต”
- อุปกรณ์ในการซักผ้าและทำความสะอาด)
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ลูกหมีอาบน้ำ”
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำเพื่ออุปโภค
บริโภคในชีวิตประจำวัน
- นักเรียนวาดภาพการใช้น้ำในชีวิตประจำวัน
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“กุ๋งกิ๋งปวดฟัน” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่ การใช้น้ำในการทำกิจวัตรประจำวัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับการใช้น้ำในการทำกิจวัตรประจำวัน
- นักเรียนแปรงฟันและเรียนรู้การใช้น้ำอย่างประหยัด
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“แม่ไม่อยู่หนูมีเพื่อน” เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การซักผ้า
- นักเรียนร่วมกันซักชุดนอน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “เจ้าชายไม่เลอะเทอะ”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่การทำความสะอาดและปรนนิบัติสถานที่
- ครูและนักเรียนร่วมกันปรนนิบัติ(ทำความสะอาดห้องเรียน)
-
ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- ครูและนักเรียนร่วมสนทนาระดมความคิดเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำต่อการใช้ชีวิตประจำวัน
- นักเรียนวาดภาพขั้นตอนการซักผ้า
|
ภาระงาน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “อาบน้ำสนุกจัง”
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวประโยชน์ของน้ำ
- ครูเล่านิทานเรื่อง “น้ำคือชีวิต”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำในชีวิตประจำวัน
ชิ้นงาน
ใบงานวาดภาพขั้นตอนการซักผ้า
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญและมีประโยชน์ของน้ำพร้อมทั้งสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
(วิทย์ : ค่ากรด-เบส , คณิตศาสตร์ : การเปรียบเทียบ รูปร่าง
รูปทรง)
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
8
27 ก.พ.-
3 มี.ค. 60
|
โจทย์ :
ลูกโป่งซู่ซ่า
Key Questions
- มีสิ่งใดบ้างที่สามารถเป่าลูกโป่งได้
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Show and Learn :
- เขียน
web ผลการทดลอง “น้ำเจ็ดสี”
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “แจวเรือ”
- อุปกรณ์การทดลอง “น้ำเป่าลูกโป่ง)
- วัตถุดิบในการทำไอศกรีมน้ำผลไม้
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ลูกโป่งมหัศจรรย์”
เชื่อมโยงสู่การทดลองเป่าลูกโป่งโดยใช้สารที่ต่างกัน เช่น
น้ำ น้ำส้มสายชู
- นักเรียนวาดภาพวัสดุที่ใช้ในการทดลองน้ำเป่าลูกโป่ง
- ผู้ปกครองและนักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมการทดลอง
“น้ำเปล่าลูกโป่ง”
- นักเรียนระบายสีภาพสรุปผลการทดลอง
“น้ำเป่าลูกโป่ง”
- ครูเล่านำทานเรื่อง “โอ๊บ...ไม่อยากเป็นลูกโป่ง”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง
- นักเรียนวาดภาพสรุปผลการทดลองขั้นตอนการทดลองลูกโป่งซู่ซ่า
- ผู้ปกครองอาสาและนักเรียนร่วมกันทำไอติมหลอดน้ำผลไม้
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนเขียน web
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ลูกโป่งมหัศจรรย์”
เชื่อมโยงสู่การทดลองเป่าลูกโป่งโดยใช้สารที่ต่างกัน เช่น
น้ำ น้ำส้มสายชู
- ผู้ปกครองเล่านิทานเรื่อง
“ผลไม้สามสหาย”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมผู้ปกครองอาสา
- ผู้ปกครองตั้งคำถามกระตุ้นคิด
“ในนิทานกล่าวถึงใครบ้าง,
มีผลไม้ชนิดใดบ้าง,
นักเรียนเคยรับประทานผลไม้ชนิดใดบ้าง,
ผลไม้ชนิดใดมีน้ำมากที่สุด
ชิ้นงาน
- ใบงานวาดภาพหลังการทดลอง “เป่าลูกโป่งด้วยน้ำ+เบคกิ้งโซดา,
น้ำ+ผงฟู, น้ำเปล่า ”
- สรุปเป็น
Mind mapping สิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งสัปดาห์
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบาย เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและดูแลตนเองได้
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
6-10 มี.ค. 60
|
โจทย์ :
- อาหารจากฟ้า
Key Questions
นักเรียนคิดว่าสิ่งใดบ้างที่ต้องการน้ำ
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการความสำคัญของน้ำกับสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
Blackboard Share :
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Wall Thinking :
ใบงานเขียน
web ความสำคัญของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Show and Learn :
ใบงานเขียน web ความ
สำคัญของน้ำกับตัวเรา
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง “ซ่า ซ่า ซ่า”
- นิทานเรื่อง “กากระกายน้ำ”
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
“อาหารดีมีประโยชน์”
- ผู้ปกคอรงและนักเรียนประกอบอาหารเมนู
“ห่อหมกแสนอร่อย
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับเมนู “ห่อหมกแสนอร่อย”
- นักเรียนเขียน web วัตถุดิบที่ใช้ในการทำห่อหมก
- ครูเล่านำทานเรื่อง “ไข่น้อยอยากมีขา”
เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่กิจกรรมผู้ปกครองอาสาในวันพรุ่งนี้
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง
- นักเรียนวาดวัตถุดิบที่ใช้ในการทำไข่ตุ๋น
- ผู้ปกครองอาสาและนักเรียนร่วมกันประกอบอาหารเมนูไข่ตุ๋นมหัศจรรย์
- นักเรียนเขียน web
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ทั้งสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของน้ำกับตัวเรา
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น
-
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสำคัญของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน web สรุปความสัมพันธ์ของน้ำกับตัวเรา
- นักเรียนเขียน web วัตถุดิบที่ใช้ในการทำห่อหมก
-
นักเรียนวาดวัตถุดิบที่ใช้ในการทำไข่ตุ๋น
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่น
ตลอดจนสามารถเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับความสำคัญของน้ำกับตัวเรา
สิ่งมีชีวิตอื่น และสิ่งไม่มีชีวิตได้
นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
-
สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
10
13-17
มี.ค. 60
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้
- นิทรรศการ
- การแสดงละคร
Key Questions
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “ น้ำ”
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เรื่องเกี่ยวกับหน่วย “ น้ำ”
ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
หน่วย “ น้ำ ”
ใบงานเขียน Mind
Mapping
สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “ น้ำ”
Show and Learn
ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หน่วย
“น้ำ”
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน “ปลาดาวบนชายหาด”
- เพลง “ฝนตก , ฉันคือเมฆ”
|
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “นกจิบจิบ, ฝนเทลงมา ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวเพลง
เชื่อมโยงเข้าสู่หน่วยการเรียนรู้ “สายน้ำแห่งชีวิต
- ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการ/การแสดง
สรุปองค์ความรู้
- นักเรียนซ้อมกิจกรรมกาแสดงและจัดนิทรรศการเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนเผยแพร่สรุปองค์ความรู้
โดยแสดงละคร และการเต้นประกอบเพลง พร้อมเปิดนิทรรศการให้ผู้ปกครองรับชม
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับน้ำ
- การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “น้ำ” ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ชิ้นงาน
- ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หน่วย “น้ำ”
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำ
และสามารถถ่ายทอดหรือแนะนำเกี่ยวกับการใช้น้ำอย่างประหยัดและคุ้มค่าได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์
คุณลักษณะ :
- เคารพสิทธิหน้าที่ เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น
- สามารถปรับตัวและอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- เลือกใช้เครื่องมือ
เช่น ดินสอ สี กระดาษ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่า และเหมาะสม
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “ สายน้ำแห่งชีวิต” ระดับชั้นอนุบาล 1 ประจำ Quarter 4
ปีการศึกษา 2/2559
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1. ปรับตัว / สร้างแรง
- วิถีอนุบาล
-
การทำกิจวัตรประจำวันที่โรงเรียน
2. นักเรียนเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ตั้งชื่อหน่วย
-
บอกสิ่งที่รู้แล้ว
-
บอกสิ่งที่อยากเรียนรู้
3. วัฏจักรของน้ำ
-
น้ำมาจากไหน
-
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
4.
การเปลี่ยนสถานะ
-
จากของเหลวเป็นของแข็ง
5.
การเปลี่ยนสถานะ
-
จากของแข็งเป็นของเหลว
6. การเปลี่ยนรูป
- เปลี่ยนรูปตามภาชนะ
- กินเนื้อ
7. สถานะของน้ำและสิ่งต่างๆ
8. การจมการลอย
- สารและวัตถุที่สามารถจมน้ำได้
-สารและวัตถุที่ไม่สามารถจมน้ำได้
9. ความสัมพันธ์ของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
สรุปองค์ความรู้
-
ความสัมพันธ์ของน้ำกับคน
-
ความสัมพันธ์ของน้ำกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
10. เผยแพร่องค์ความรู้
- เต้นประกอบเพลง
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้, สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย สุขนิสัยที่ดี และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแล้วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความ
เต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา
มีน้ำใจและ
ช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด อดออม
และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ที่ 7 รักธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8 อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1 ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2 มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3
ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง /
เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
ตาราง
เชื่อมโยงหน่วย “ สายน้ำแห่งชีวิต
” กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
- พับกระดาษ
- ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
- ประกอบอาหาร
- เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา เกมการละเล่น เช่น
การโยน-รับลูกบอล เป็นต้น
-
การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น เคลื่อนไหวประกอบเพลง ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน การวิ่ง
การกระโดด
- การดึง การดัน
การจับ การขว้าง การเตะ
-
การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อย
- การต่อบล็อก
- การระบายสี
- การติดกระดุม
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม กีฬา
เช่น การรับ-การโยน
-
การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น
การรับประทานอาหาร
การแต่งกาย
การสวมใส่รองเท้า ถุงเท้า เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง การทำท่าทางประกอบ
- การฟังนิทาน การเล่านิทาน
-
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น
เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู เล่นเครื่องเล่น ฯลฯ
- การเล่น การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน การรอคอย
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ
-
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การรู้บทบาทหน้าที่
- ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ภาษาสื่อความหมาย
และความคิด
-
การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น
สี ขนาด รูปร่าง
เป็นต้น
- การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ
รอบตัว
-
การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ
ได้แก่ ตา หู
จมูก ลิ้น และผิวหนัง
- การสนทนาถาม-ตอบ
- การอธิบาย การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- เกมการศึกษา
- การทดลอง ฯลฯ
|
Web เชื่อมโยงหน่วย “ สายน้ำแห่งชีวิต” กับ 4 สาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด
สี น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม
ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
- ท่าทาง สีหน้า อารมณ์
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น Sit
down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง เข้าใจความหมาย สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name
? My
name is…….. What is this ? It’s
a…….
What do like
? I like ……………
- ร้องเพลง เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น เกี่ยวกับอวัยวะ เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
/ ไม่มีชีวิต ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
- เขียนประโยคตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง
ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ /
นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|